วันพฤหัสบดีที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2566

หาคนขายเมล็ดภูพานเฮ

Good Morning ( in Thailand 08.00 am ) to everybody and Happy New Year... I am a member in this group and I live in Thailand.. I would like to find who or where distribute seed for yonh plant of peach palm ( Pupunha ). Pls kindly advise or suggest me back would be much appreciated. My email is pjmong05@gmail.com



สวัสดีตอนเช้า ( ในประเทศไทย 08.00 น. ) ถึงทุกคน และ สวัสดีปีใหม่... ผมเป็นสมาชิกในกลุ่มนี้และอาศัยอยู่ที่ประเทศไทย.. ผมอยากทราบว่าใครหรือที่ไหนที่จำหน่ายเมล็ดพันธุ์ต้นพีช (ปูปุณหะ) . กรุณาแนะนำหรือแนะนำฉันกลับจะได้รับการชื่นชมมาก อีเมลของฉันคือ pjmong05@gmail.com
S̄wạs̄dī txn chêā (nı pratheṣ̄thịy 08.00 N. ) T̄hụng thuk khn læa s̄wạs̄dī pī h̄ım̀... P̄hm pĕn s̄māchik nı klùm nī̂ læa xāṣ̄ạy xyū̀ thī̀ pratheṣ̄thịy.. P̄hm xyāk thrāb ẁā khır h̄rụ̄x thī̀h̄ịn thī̀ cảh̄ǹāy mel̆d phạnṭhu̒ t̂n phīch (pū puṇ h̄a). Kruṇā næanả h̄rụ̄x næanả c̄hạn klạb ca dị̂ rạb kār chụ̄̀nchm māk xīmel k̄hxng c̄hạn khụ̄x pjmong05@gmail.Com

วันพุธที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2566

ภาษีที่ดิน ใหม่

จับตารื้อ ’ภาษีที่ดิน 2567’ เก็บเต็มเพดาน ’เกษตรกรรม’ เสีย 15 เท่า

หนึ่งในนโยบายที่ลุ้นระทึกไม่แพ้การฟอร์มทีม”รัฐบาลใหม่” นั่นคือ ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างประจำปี 2567

เนื่องจากอัตราที่ใช้ในการจัดเก็บในปัจจุบันจะครบกำหนดปี 2566 ได้แก่ 1.ที่ดินเกษตรกรรมจัดเก็บ 0.01-0.1% 2.ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยจัดเก็บ 0.02-0.1% 3.ที่ดินอื่นๆ เช่น การพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม จัดเก็บ 0.3-0.7% และ 4.ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งว่างเปล่าหรือไม่ได้ทำประโยชน์จัดเก็บ 0.3-0.7%

Stay

    ดังนั้นเท่ากับว่าในปี 2567 กำลังจะมาถึงอีกไม่กี่เดือนข้างหน้า ยังต้องลุ้นจะมีการทบทวนอัตราภาษีใหม่หรือไม่ ภายใต้การเปลี่ยนผ่านสถานการณ์การเมืองสู่รัฐบาลชุดใหม่

สถานะตอนนี้จึงอยู่บนพื้นฐานมีความเป็นไปได้ทั้งนั้น ไม่ว่าจะคงอัตราเดิมหรือลดอัตราเดิมหรือเขย่าอัตราใหม่ให้ชนกับเพดานที่กฎหมายกำหนด โดยอัตราเพดานที่ดินเกษตรกรรมไม่เกิน 0.15% หรือเพิ่ม 15 เท่า จากล้านละ 100 บาท เป็นล้านละ 1,500 บาท ,บ้านพักอาศัยไม่เกิน 0.3% ,ที่ดินอื่นๆ และรกร้างว่างเปล่าไม่เกิน 1.2%

  ว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)

จับตารื้อ ’ภาษีที่ดิน 2567’ เก็บเต็มเพดาน ’เกษตรกรรม’ เสีย 15 เท่า

จับตารื้อ ’ภาษีที่ดิน 2567’ เก็บเต็มเพดาน ’เกษตรกรรม’ เสีย 15 เท่า

หนึ่งในนโยบายที่ลุ้นระทึกไม่แพ้การฟอร์มทีม”รัฐบาลใหม่” นั่นคือ ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างประจำปี 2567

เนื่องจากอัตราที่ใช้ในการจัดเก็บในปัจจุบันจะครบกำหนดปี 2566 ได้แก่ 1.ที่ดินเกษตรกรรมจัดเก็บ 0.01-0.1% 2.ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยจัดเก็บ 0.02-0.1% 3.ที่ดินอื่นๆ เช่น การพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม จัดเก็บ 0.3-0.7% และ 4.ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งว่างเปล่าหรือไม่ได้ทำประโยชน์จัดเก็บ 0.3-0.7%

ดังนั้นเท่ากับว่าในปี 2567 กำลังจะมาถึงอีกไม่กี่เดือนข้างหน้า ยังต้องลุ้นจะมีการทบทวนอัตราภาษีใหม่หรือไม่ ภายใต้การเปลี่ยนผ่านสถานการณ์การเมืองสู่รัฐบาลชุดใหม่

สถานะตอนนี้จึงอยู่บนพื้นฐานมีความเป็นไปได้ทั้งนั้น ไม่ว่าจะคงอัตราเดิมหรือลดอัตราเดิมหรือเขย่าอัตราใหม่ให้ชนกับเพดานที่กฎหมายกำหนด โดยอัตราเพดานที่ดินเกษตรกรรมไม่เกิน 0.15% หรือเพิ่ม 15 เท่า จากล้านละ 100 บาท เป็นล้านละ 1,500 บาท ,บ้านพักอาศัยไม่เกิน 0.3% ,ที่ดินอื่นๆ และรกร้างว่างเปล่าไม่เกิน 1.2%

Advertisement

ปฏิเสธไม่ได้ว่าที่ผ่านมามีผู้ถือครองที่ดินที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ โดยเฉพาะทำเลย่านเศรษฐกิจใจกลางเมืองกรุงเทพฯและหัวเมืองใหญ่ มีการนำที่ดินมาแปลงสภาพที่ดินเพื่อให้เข้าเกณฑ์ ”ที่ดินเกษตรกรรม” เพื่อลดภาระภาษีที่ต้องจ่ายเพิ่ม 10 เท่า ซึ่งจากนี้ไปถึงปีหน้าน่าจะมีให้เห็นอย่างต่อเนื่อง รับกับอัตราใหม่ในปี 2567

อย่างไรก็ตามผลจากประกาศกระทรวงการคลังและกระทรวงมหาดไทย เรื่องหลักเกณฑ์การใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรม หากปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ตามที่กำหนด ทำให้เจ้าของที่ดินแห่ปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินจำนวนมาก

โดยเฉพาะที่ดินในเมืองที่ราคาประเมินแพง แกล้งทำเกษตรกรรมจำแลง
ปลูกกล้วยและมะนาว เพื่อให้เข้าเกณฑ์ที่ดอนเกษตรกรรม เสียภาษีในอัตราที่ถูกลง จากที่ดินรกร้างว่างเปล่าเสียล้านละ 3,000 บาท จะเสียในอัตราเกษตรกรรมล้านละ 100 บาทเท่านั้น

เมื่อพลิกดูประกาศกระทรวงการคลังและกระทรวงมหาดไทย ระบุว่า การประกอบการเกษตรที่เป็นการทำไร่ การปลูกผัก การปลูกไม้ผลยืนต้น การปลูกสวนป่า การปลูกป่าเศรษฐกิจ แบบสวนเฉพาะ หรือการปลูกไม้ผลหรือไม้ยืนต้นแบบสวนผสมที่มีชนิดพืชดังต่อไปนี้จะต้องประกอบการเกษตร ให้ได้อัตราขั้นต่ำตามที่กำหนดไว้ จึงจะถือว่าเป็นการใช้ประโยชน์ในการประกอบการเกษตรกรรม

สำหรับพืช 51 ชนิด และอัตราขั้นต่ำการปลูกที่กำหนด ได้แก่ 1.กล้วยหอม 200 ต้น/ไร่ 2.กล้วยไข่ 200 ต้น/ไร่ 3.กล้วยน้ำว้า 200 ต้น/ไร่ 4.กระท้อนเปรี้ยว 25 ต้น/ไร่ พันธุ์ทับทิม 25 ต้น/ไร่ พันธุ์ปุยฝ้าย 25 ต้น/ไร่ 5.กาแฟ 170 ต้น/ไร่ พันธุ์โรบัสต้า 170 ต้น/ไร่ พันธุ์อราบิก้า 533 ต้น/ไร่ 6.กานพลู 20 ต้น/ไร่ 7.กระวาน 100 ต้น/ไร่

8.โกโก้ 150-170 ต้น/ไร่ 9.ขนุน 25 ต้น/ไร่ 10.เงาะ 20 ต้น/ไร่ 11.จำปาดะ 25 ต้น/ไร่ 12.จันทร์เทศ 25 ต้น/ไร่ 13.ชมพู่ 45 ต้น/ไร่ 14.ทุเรียน 20 ต้น/ไร่ 15.ท้อ 45 ต้น/ไร่ 16.น้อยหน่า 170 ต้น/ไร่ 17.นุ่น 25 ต้น/ไร่ 18.บ๊วย 45 ต้น/ไร่ 19.ปาล์มน้ำมัน 22 ต้น/ไร่ 20.ฝรั่ง 45 ต้น/ไร่ 21.พุทรา 80 ต้น/ไร่

22.แพสชั่นฟรุ๊ต 400 ต้น/ไร่ 23.พริกไทย 400 ต้น/ไร่ 24.พลู 100 ต้น/ไร่ 25.มะม่วง 20 ต้น/ไร่ 26.มะพร้าวแก่ 20 ต้น/ไร่ 27.มะพร้าวอ่อน 20 ต้น/ไร่  28.มะม่วงหิมพานต์ 45 ต้น/ไร่ 29.มะละกอ (ยกร่อง) 100 ต้น/ไร่ (ไม่ยกร่อง) 175 ต้น/ไร่ 30.มะนาว 50 ต้น/ไร่ 31.มะปราง 25 ต้น/ไร่ 32.มะขามเปรี้ยว 25 ต้น/ไร่ 33.มะขามหวาน 25 ต้น/ไร่ 34.มังคุด 16 ต้น/ไร่

35.ยางพารา 80 ต้น/ไร่ 36.ลิ้นจี่ 20 ต้น/ไร่ 37.ลำไย 20 ต้น/ไร่ 38.ละมุด 45 ต้น/ไร่ 39.ลางสาด 45 ต้น/ไร่ 40.ลองกอง 45 ต้น/ไร่ 41.ส้มโอ 45 ต้น/ไร่ 42.ส้มโอเกลี้ยง 45 ต้น/ไร่ 43.ส้มตรา 45 ต้น/ไร่ 44.ส้มเขียวหวาน 45 ต้น/ไร่ 45.ส้มจุก 45 ต้น/ไร่ 46.สตรอเบอรี่ 10,000 ต้น/ไร่ 47.สาลี่ 45 ต้น/ไร่ 48.สะตอ 25 ต้น/ไร่ 49.หน่อไม้ไผ่ตง 25 ต้น/ไร่ 50.หมาก (ยกร่อง) 100-170 ต้น/ไร่ และ 51. พืชกลุ่มให้เนื้อไม้ 100 ต้น/ไร่

จับตารื้อ ’ภาษีที่ดิน 2567’ เก็บเต็มเพดาน ’เกษตรกรรม’ เสีย 15 เท่า

จับตารื้อ ’ภาษีที่ดิน 2567’ เก็บเต็มเพดาน ’เกษตรกรรม’ เสีย 15 เท่า

หนึ่งในนโยบายที่ลุ้นระทึกไม่แพ้การฟอร์มทีม”รัฐบาลใหม่” นั่นคือ ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างประจำปี 2567

เนื่องจากอัตราที่ใช้ในการจัดเก็บในปัจจุบันจะครบกำหนดปี 2566 ได้แก่ 1.ที่ดินเกษตรกรรมจัดเก็บ 0.01-0.1% 2.ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยจัดเก็บ 0.02-0.1% 3.ที่ดินอื่นๆ เช่น การพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม จัดเก็บ 0.3-0.7% และ 4.ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งว่างเปล่าหรือไม่ได้ทำประโยชน์จัดเก็บ 0.3-0.7%

ดังนั้นเท่ากับว่าในปี 2567 กำลังจะมาถึงอีกไม่กี่เดือนข้างหน้า ยังต้องลุ้นจะมีการทบทวนอัตราภาษีใหม่หรือไม่ ภายใต้การเปลี่ยนผ่านสถานการณ์การเมืองสู่รัฐบาลชุดใหม่

สถานะตอนนี้จึงอยู่บนพื้นฐานมีความเป็นไปได้ทั้งนั้น ไม่ว่าจะคงอัตราเดิมหรือลดอัตราเดิมหรือเขย่าอัตราใหม่ให้ชนกับเพดานที่กฎหมายกำหนด โดยอัตราเพดานที่ดินเกษตรกรรมไม่เกิน 0.15% หรือเพิ่ม 15 เท่า จากล้านละ 100 บาท เป็นล้านละ 1,500 บาท ,บ้านพักอาศัยไม่เกิน 0.3% ,ที่ดินอื่นๆ และรกร้างว่างเปล่าไม่เกิน 1.2%

Advertisement

ปฏิเสธไม่ได้ว่าที่ผ่านมามีผู้ถือครองที่ดินที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ โดยเฉพาะทำเลย่านเศรษฐกิจใจกลางเมืองกรุงเทพฯและหัวเมืองใหญ่ มีการนำที่ดินมาแปลงสภาพที่ดินเพื่อให้เข้าเกณฑ์ ”ที่ดินเกษตรกรรม” เพื่อลดภาระภาษีที่ต้องจ่ายเพิ่ม 10 เท่า ซึ่งจากนี้ไปถึงปีหน้าน่าจะมีให้เห็นอย่างต่อเนื่อง รับกับอัตราใหม่ในปี 2567

อย่างไรก็ตามผลจากประกาศกระทรวงการคลังและกระทรวงมหาดไทย เรื่องหลักเกณฑ์การใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรม หากปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ตามที่กำหนด ทำให้เจ้าของที่ดินแห่ปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินจำนวนมาก

โดยเฉพาะที่ดินในเมืองที่ราคาประเมินแพง แกล้งทำเกษตรกรรมจำแลง
ปลูกกล้วยและมะนาว เพื่อให้เข้าเกณฑ์ที่ดอนเกษตรกรรม เสียภาษีในอัตราที่ถูกลง จากที่ดินรกร้างว่างเปล่าเสียล้านละ 3,000 บาท จะเสียในอัตราเกษตรกรรมล้านละ 100 บาทเท่านั้น

เมื่อพลิกดูประกาศกระทรวงการคลังและกระทรวงมหาดไทย ระบุว่า การประกอบการเกษตรที่เป็นการทำไร่ การปลูกผัก การปลูกไม้ผลยืนต้น การปลูกสวนป่า การปลูกป่าเศรษฐกิจ แบบสวนเฉพาะ หรือการปลูกไม้ผลหรือไม้ยืนต้นแบบสวนผสมที่มีชนิดพืชดังต่อไปนี้จะต้องประกอบการเกษตร ให้ได้อัตราขั้นต่ำตามที่กำหนดไว้ จึงจะถือว่าเป็นการใช้ประโยชน์ในการประกอบการเกษตรกรรม

สำหรับพืช 51 ชนิด และอัตราขั้นต่ำการปลูกที่กำหนด ได้แก่ 1.กล้วยหอม 200 ต้น/ไร่ 2.กล้วยไข่ 200 ต้น/ไร่ 3.กล้วยน้ำว้า 200 ต้น/ไร่ 4.กระท้อนเปรี้ยว 25 ต้น/ไร่ พันธุ์ทับทิม 25 ต้น/ไร่ พันธุ์ปุยฝ้าย 25 ต้น/ไร่ 5.กาแฟ 170 ต้น/ไร่ พันธุ์โรบัสต้า 170 ต้น/ไร่ พันธุ์อราบิก้า 533 ต้น/ไร่ 6.กานพลู 20 ต้น/ไร่ 7.กระวาน 100 ต้น/ไร่

8.โกโก้ 150-170 ต้น/ไร่ 9.ขนุน 25 ต้น/ไร่ 10.เงาะ 20 ต้น/ไร่ 11.จำปาดะ 25 ต้น/ไร่ 12.จันทร์เทศ 25 ต้น/ไร่ 13.ชมพู่ 45 ต้น/ไร่ 14.ทุเรียน 20 ต้น/ไร่ 15.ท้อ 45 ต้น/ไร่ 16.น้อยหน่า 170 ต้น/ไร่ 17.นุ่น 25 ต้น/ไร่ 18.บ๊วย 45 ต้น/ไร่ 19.ปาล์มน้ำมัน 22 ต้น/ไร่ 20.ฝรั่ง 45 ต้น/ไร่ 21.พุทรา 80 ต้น/ไร่

22.แพสชั่นฟรุ๊ต 400 ต้น/ไร่ 23.พริกไทย 400 ต้น/ไร่ 24.พลู 100 ต้น/ไร่ 25.มะม่วง 20 ต้น/ไร่ 26.มะพร้าวแก่ 20 ต้น/ไร่ 27.มะพร้าวอ่อน 20 ต้น/ไร่  28.มะม่วงหิมพานต์ 45 ต้น/ไร่ 29.มะละกอ (ยกร่อง) 100 ต้น/ไร่ (ไม่ยกร่อง) 175 ต้น/ไร่ 30.มะนาว 50 ต้น/ไร่ 31.มะปราง 25 ต้น/ไร่ 32.มะขามเปรี้ยว 25 ต้น/ไร่ 33.มะขามหวาน 25 ต้น/ไร่ 34.มังคุด 16 ต้น/ไร่

35.ยางพารา 80 ต้น/ไร่ 36.ลิ้นจี่ 20 ต้น/ไร่ 37.ลำไย 20 ต้น/ไร่ 38.ละมุด 45 ต้น/ไร่ 39.ลางสาด 45 ต้น/ไร่ 40.ลองกอง 45 ต้น/ไร่ 41.ส้มโอ 45 ต้น/ไร่ 42.ส้มโอเกลี้ยง 45 ต้น/ไร่ 43.ส้มตรา 45 ต้น/ไร่ 44.ส้มเขียวหวาน 45 ต้น/ไร่ 45.ส้มจุก 45 ต้น/ไร่ 46.สตรอเบอรี่ 10,000 ต้น/ไร่ 47.สาลี่ 45 ต้น/ไร่ 48.สะตอ 25 ต้น/ไร่ 49.หน่อไม้ไผ่ตง 25 ต้น/ไร่ 50.หมาก (ยกร่อง) 100-170 ต้น/ไร่ และ 51. พืชกลุ่มให้เนื้อไม้ 100 ต้น/ไร่

ส่วนสัตว์ 9 ชนิด ได้แก่ 1.โค ขนาด 7 ตารางเมตรต่อตัว เท่ากับเป็นการใช้ที่ดิน 1 ตัวต่อ 5 ไร่ 2.กระบือโตเต็มวัย ขนาด 7 ตารางเมตรต่อตัว เท่ากับเป็นการใช้ที่ดิน 1 ตัวต่อ 5 ไร่ 3.แพะ-แกะโตเต็มวัย ขนาด 2 ตารางเมตรต่อตัว เท่ากับเป็นการใช้ที่ดิน 1 ตัวต่อไร่ 4.สุกร พ่อพันธุ์ คอกเดี่ยว ขนาด 7.5 ตารางเมตรต่อตัว แม่พันธุ์ คอกเดี่ยว ขนาด 1.5 ตารางเมตรต่อตัว สุกรอนุบาล ขนาด 0.5 ตารางเมตรต่อตัว สุกรขุน ขนาด 1.5 ตารางเมตรต่อตัว คอกคลอด ใช้พื้นที่ไม่น้อยกว่า 6 ตารางเมตรต่อตัว ซองอุ้มท้อง ใช้พื้นที่ไม่น้อยกว่า 2 ตารางเมตรต่อตัว

5.สัตว์ปีกเลี้ยงปล่อย (เป็ดและไก่) 4 ตารางเมตรต่อตัว (ตามมาตรฐานปศุสัตว์อินทรีย์) 6.กวาง 2 ไร่ต่อตัว 7.หมูป่า 5 ตารางเมตรต่อตัว (เลี้ยงในโรงเรือน) 0.25 ไร่ต่อตัว (เลี้ยงปล่อย) 8.ผึ้ง บริเวณที่มีพืชอาหารเลี้ยงผึ้ง เช่น เกสร และน้ำหวานดอกไม้ที่สมดุล กับจำนวนรังผึ้ง 9.จิ้งหรีด บริเวณพื้นที่เพียงพอและเหมาะสม กับขนาดและจำนวนบ่อ

จากข้อยกเว้นดังกล่าวนั้น ทำให้หน่วยงานท้องถิ่นเก็บรายได้จากภาษีที่ดินได้น้อยลง โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร(กทม.) ล่าสุดผลการจัดเก็บตั้งแต่เดือนตุลาคม2565-วันที่ 4 สิงหาคม 2566 อยู่ที่ 2,887 ล้านบาท ยังต่ำกว่าที่ประมาณไว้ 7,710 ล้านบาท

อย่างไรก็ตามกทม.สามารถออกข้อบัญญัติกำหนดอัตราการจัดเก็บภาษีได้เอง แต่ต้องไม่เกินจากเพดานที่กฎหมายกำหนด อยู่ที่”ชัชชาติ สิทธิพันธุ์”จะลุยเลยหรื